งานวิจารณ์ งานวิจัยเรื่อง “ ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย ”

งานวิจารณ์ งานวิจัยเรื่อง “ ประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มของประเทศไทย ”

  1. ชื่อเรื่องงานวิจัย
  2. สะท้อนเรื่องที่วิจัยหรือไม่
  3. กระชับหรือไม่
  4. มีการระบุตัวแปรที่สำคัญหรือไม่
  5. มีการระบุประชากรที่ศึกษาหรือไม่
  6. มีการระบุสถานที่ศึกษาหรือไม่
  7. สะท้อนแนวทางวิธีการศึกษาและวิเคราะห์หรือไม่
    ชื่องานวิจัยเรื่องนี้ข้าพเจ้าคิดว่า ยังไม่ค่อยดีเท่าที่ควร คือไม่มีความกะทัดรัด ชัดเจน เพราะชื่อเรื่องมีความยาวเกินไป หากเปลี่ยนไปใช้ “ การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย” น่าจะมีความกระชับและสื่อความหมายได้ครอบคลุมกว่าการระบุคำว่าประสิทธิภาพ เนื่องด้วยคำว่า ประสิทธิภาพ ที่ผู้เขียนกล่าวถึงนั้น ประสิทธิภาพหมายถึง
    2.บทคัดย่อ Abstract
  8. มีการกล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธี ผลการวิจัย และให้ข้อเสนอแนะหรือไม่
  9. มีจำนวนคำและความยาวที่เหมาะสมหรือไม่
  10. กระชับและชัดเจนหรือไม่
  11. สะท้อนเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
    บทคัดย่อนี้ข้าพเจ้าคิดว่า มีการกล่าวถึงวัตถุประสงค์ที่ต้องการศึกษา บอกถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ศึกษาว่าเป็นขั้นทุติยภูมิ
    3.ปัญหาการวิจัย Research Problem
  12. ปัญหาการวิจัยมีเขียนไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ มีการกล่าวถึงในส่วนเริ่มต้นของรายงานวิจัยหรือไม่ มีการเขียนแบบข้อคำถาม หรือเป็นประโยคบอกเล่า
  13. มีข้อสนับสนุนความเป็นมาความสำคัญหรือความรุ่นแรงของปัญหาหรือไม่
  14. มีการกล่าวถึงงานวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และมีการชี้ให้เห็นไม่ว่างานวิจัยนี้ เหมือนหรือต่างจากเรื่องอื่นอย่างไร หรืองานงานวิจัยนี้จะเติมช่องว่างของความรู้ได้อย่างไร
  15. มีการระบุตัวแปรหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่จะศึกษาหรือไม่
  16. มีการระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษาหรือไม่
  17. มีการมองปัญหาภายใต้บริบทของกรอบแนวคิดทฤษฏีที่เหมาะสมหรือไม่
  18. ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการศึกษาปัญหานี้มีความสำคัญอย่างไรต่อการปฏิบัติการพยาบาล การสร้างองค์ความรู้หรือประเด็นอื่น
    4.วัตถุประสงค์การวิจัย Purpose,Objective,Aim
  19. มีความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัยหรือไม่
  20. เขียนชัดเจนหรือไม่ว่าผู้วิจัยมีแผนจะทำอะไร จะเก็บข้อมูลจากใคร ที่ไหน
    การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง Review of literature
  21. เป็นการศึกษาอย่างขว้างขวางลึกซึ้งเกี่ยวข้องและครอบคลุมตัวแปรต่างๆที่วิจัยหรือไม่
  22. นำเสนอต่อจากบทนำและปัญหาการวิจัยหรือไม่
  23. ให้ความรู้เกี่ยวกับความรู้ที่มีอยู่ ช่องว่างของความรู้ และบทบาทของงานวิจัยเรื่องนี้ในการขยายหรือทดสอบความรู้หรือไม่
  24. มีการใช้ข้อมูลทั้งเชิงทฤษฏีและงานวิจัยหรือไม่
  25. แหล่งอ้างอิงส่วนใหญ่เป็นปฐมภูมิ หรือ ทุติยภูมิ มีความเป็นปัจจุบันหรือไม่
  26. แหล่งอ้างอิงสำคัญหรือข้อมูลสำคัญ มีการกล่าวไว้ถึงครบถ้วนหรือไม่
  27. การเขียนเรียงเป็นลำดับต่อเนื่องหรือไม่ น่าอ่าน น่าติดตามหรือไม่
  28. การเขียนเรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาตนเอง หรือเป็นการคัดลองคำพูดมาจากแหล่งปฐมภูมิโดยตรง
  29. สะท้อนอคติของผู้วิจัยหรือไม่
  30. มีการเขียนเชิงวิพากษ์ เปรียบเทียบหรือไม่
  31. มีการสรุปสถานภาพองค์ความรู้ในหัวข้อนั้น State of the art หรือไม่
  32. ขอบเขตของการวิจัย
    หลักในการเขียนขอบเขตของการวิจัย
  33. มีการกำหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ชัดเจน หรือไม่อย่างไร
  34. กำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่างชัดเจนหรือไม่
  35. กำหนดขอบเขตของตัวแปรที่ศึกษาชัดเจนหรือไม่ 6.กรอบแนวคิดทฤษฏี
  36. มีการระบุกรอบแนวคิดทฤษฏีอย่างชัดเจนหรือไม่
  37. แนวคิด ทฤษฏี สอดคล้องเหมาะสมกับเรื่องที่ศึกษาหรือไม่
  38. ให้ความหมายของตัวแปรสำคัญอย่างชัดเจนหรือไม่
  39. สมมุติฐานได้มาจากกรอบแนวคิดทฤษฏีหรือไม่
  40. มีการระบุข้อความแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือไม่
  41. การใช้เแนวคิด ทฤษฏี มีความสม่ำเสมอตลอดงานวิจัยหรือไม่
  42. ทฤษฏีที่ใช้มาจากศษสตร์ทางการพยาบาลหรือสาขาวิชาใด หรือเป็นแนวคิดที่เกิดจากการผสมผสานงานวิจัยและทฤษฏีต่างๆ
    7.สมมุติฐานการศึกษา
    หลักในการตั้งสมมุติฐานของการวิจัย
  43. เป็นการเขียนแบบมีทิศทางหรือไม่มีทิศทาง
  44. สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัยข้อใด
  45. บ่งบอกได้ว่ามีตัวแปรใดบ้างที่จะศึกษา อะไรเป็นตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ อะไรเป็นตัวแปรตาม
  46. สามารถทดสอบได้ด้วยสมมติฐานทางสถิติหรือไม่ และใช้สถิติใดทดสอบ

8.วิธีการรวบรวมข้อมูล Data collection procedure

  1. ข้อมูลมีการรวบรวมอย่างไร มีกี่วิธี
  2. วิธีรวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมกับการวิจัยหรือไม่
    3.มีขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจนสำหรับตัวอย่างทุกคนหรือไม่
  3. ใครรวบรวมข้อมูล ผู้รวบรวมข้อมูลมีความเหมาะสมหรือไม่ ได้รับการฝึกอบรมอย่างไร
  4. ข้อมูลรวบรวมในสถานการณ์เช่นไร มีความกดดันไหม มีคนอื่นอยู่ในขณะเก็บข้อมูลไหม ผู้ให้
    หลักการเก็บรวบรวมข้อมูล
  5. มีวิธีการทดลอง หรือรวบรวมข้อมูลอย่างไร เป็นวิธีที่เชื่อถือได้หรือไม่
    2.ขนาดตัวอย่างเหมาะสมหรือเพียงพอต่อการวิจัยหรือไม่ และกำหนดขนาดตัวอย่างไว้อย่างไร
    9.การวิเคราะห์ข้อมูล
    หลักในการวิเคราะห์ข้อมูล
  6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย/สมมติฐานการวิจัยหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงใช้สถิตินั้น ๆ ในการตอบคำถามวิจัย
    การแปลความหมายข้อมูล ตารางที่นาเสนอนั้นตอบจุดมุ่งหมายใดของการวิจัย การแปลความหมายอ่านแล้วเข้าใจชัดเจน/สับสน ใส่ความคิดเห็นส่วนตัวด้วยหรือไม่

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

จากการศึกษางานวิจัยเผยว่า คนที่ทำตัวแปลกๆหรือทำตัวประหลาดแตกต่างจากคนปกติ หรือคนที่มีคาแร็คเตอร์แปลกประหลาดแบบธรรมชาติของเขาเอง สามารถสร้างแรงดึงดูดต่อเพศตรงข้าม และทำให้มีโอกาสหาแฟนหรือคนรู้ใจได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ใครที่โสดมานานแล้วอยากสละโสด คงจะได้ฤกษ์สละโสดเร็วๆนี้แล้ว . ซึ่งผลวิจัยดังกล่าวข้างต้น อ้างอิงจากวารสารว่าด้วยบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคม (Personality and Social Psychology Bulletin) ของสหรัฐอเมริกา เป็นการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิง จากการเลือกเพศตรงข้ามที่สนใจผ่านเว็บไซต์หาคู่เดทออนไลน์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงต่างถูกใจในผู้ที่มีความแปลกกว่าคนทั่วไป ทั้งในเรื่องสไตล์เสื้อผ้า การแต่งตัว รสนิยม และทัศนคติ . บางท่านอาจสงสัยว่า

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

จากการศึกษาเรื่อง ทำไมฝนตกแล้วต้องเหงา หรือผลกระทบจากสภาพอากาศต่อสภาพจิตใจในเชิงวิทยาศาสตร์และจิตวิทยานั้นพบว่า ในช่วงที่ฝนตก สภาพอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งความชื้นในอากาศที่เพิ่มขึ้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลง และแสงสว่างที่ลดน้อยลง ซึ่งอธิบายให้เห็นภาพที่สุดก็คงจะเป็นเรื่องของแสงสว่างที่ลดน้อยลงในวันที่ฝนตก เพราะร่างกายของมนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่า นาฬิกาชีวภาพ (Circadian Rhythm) ที่คอยกำหนดการทำงานของสมองและร่างกายในแต่ละช่วงของวัน . ซึ่งแสงส่งผลได้อย่างชัดเจน สามารถนึกถึงอารมณ์เวลาที่ตื่นมาในวันที่มีแสงแดดแรง ท้องฟ้าสดใส และไม่ร้อนจนเกินไป กับวันที่ตื่นมาแล้วท้องฟ้าปกคลุมไปด้วยเมฆครึ้ม อารมณ์ความรู้สึกในวันนั้นก็แตกต่างกันไม่น้อย ซึ่งสิ่งนี้เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล เพราะการได้รับแสงแดดที่ไม่เพียงพอหรือน้อยลงในตอนเช้าส่งผลต่อการทำงานของนาฬิกาชีวภาพ ต่อเนื่องไปยังสมอง ทำให้สมองผลิตเซโรโทนิน

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

วัยรุ่นวัยใสที่ยังไม่มีแฟนหรือแทบจะไม่ได้ไปออกเดทกับใครเขา มักถูกมองว่าขาดเสน่ห์หรือเข้าสังคมได้ไม่ดีนัก แต่ในขณะที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมวัยรุ่นในสหรัฐฯ เชื่อกันมานานว่า วัยรุ่นที่มีคู่คบหาดูใจจะมีโอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและวุฒิภาวะทางอารมณ์ได้ดีกว่าเพื่อนวัยเดียวกัน แต่แล้วความเชื่อนี้กำลังจะเปลี่ยนไป . เนื่องจากทีมนักวิจัยด้านสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยจอร์เจียของสหรัฐฯ ได้มีการตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดลงในวารสาร “สุขภาพในโรงเรียน” (Journal of School Health) โดยระบุว่า ผลการติดตามเก็บข้อมูลระยะยาวเป็นเวลา 7 ปีกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน ตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชี้ว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้คบหาเป็นแฟนกับใครและไม่ค่อยได้ออกเดทนั้น ไม่ได้มีพัฒนาการทางจิตวิทยาตามวัยด้อยไปกว่าเพื่อนที่มีแฟน หนำซ้ำยังมีทักษะทางสังคมที่ดีกว่า และมีภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าด้วย

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง