ทำวิจัยหัวข้ออะไรดี อาจารย์ที่ปรึกษาถึงจะอนุมัติให้ผ่าน
ทำวิจัยหัวข้ออะไรดี อาจารย์ที่ปรึกษาถึงจะอนุมัติให้ผ่าน06/07/202006/07/2020 Nanthapak MekhamNanthapak Mekham 0 Commentsข้อห้ามงานวิจัยทำงานวิจัยหัวข้อวิจัย การท่องเที่ยววิจัยหัวข้อ บทคัดย่องานวิจัยAbstract งานวิจัยกรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์งานวิทยานิพนธ์รับทำวิทยานิพนธ์รับทำวิทยานิพนธ์ ราคาดุษฎีนิพนธ์การทำดุษฎีนิพนธ์งานดุษฎีนิพนธ์ความล้มเหลวงานวิจัยอาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหาอาจารย์ที่ปรึกวิจัยปัญหางานวิจัยข้อผิดพลาดในการทำวิจัยกำหนดปัญหางานวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยบริการรับทำวิจัยรับทำวิจัยการทำงานวิจัยงานวิจัยข้อมูลงานวิจัยจ้างทำวิจัย 5 บทรับทำวิทยานิพนธ์รับทำวิทยานิพนธ์ ราคาบริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)การทำธีสิสการสืบค้นข้อมูลงานวิจัยงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยการตั้งหัวข้อวิจัยเทคนิคตั้งหัวข้อวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยการเขียนบทความวิจัยบทความวิจัย งานทีสิสวางแผนงานทีสิสเขียนโครงร่างงานวิจัยโครงร่างงานวิจัยแปลบทความวิจัยแปลงานวิจัยเทคนิคแปลงานวิจัยวางแผนงานวิจัยเทคนิคทำงานวิจัยเทคนิคการทำ ISผลงานวิชาการPresent งานวิจัยความล้มเหลวการทำวิจัยFacebookTwitterLineในการเริ่มทำงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ หรืองานดุษฎีนิพนธ์นั้น สิ่งแรกที่ต้องทํา คือ “การตั้งหัวข้อ” และหัวข้องานวิจัยที่ดีนั้น ควรจะเป็นหัวข้อที่ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทําการศึกษา หรือมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานอยู่บ้าง โดยหัวข้อที่จะทำงานวิจัยนั้น ไม่ควรยึดติดอยู่กับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง แต่ควรเป็นหัวข้อวิจัยที่สามารถนำไปใช้หรือขยายผลได้กับองค์กรอื่น ๆ หรือเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกันได้ “หัวข้องานวิจัยที่ดีสามารถตั้งได้จากอะไร?”สิ่งแรกที่ควรทำการสังเกต คือ “กระแสสังคม หรือ ปัญหาสังคม ณ ตอนนั้น” เป็นปัญหาสังคมที่มีความสอดคล้องกับความสนใจของเราหรือไม่ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการตั้งเป็นหัวข้องานวิจัยได้ ข้อห้ามงานวิจัย, ทำงานวิจัย, วิจัยหัวข้อ, หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว, บทคัดย่องานวิจัย, Abstract งานวิจัย,กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์, งานวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, […]
เพื่อให้งานวิจัยดำเนินไปได้อย่างดีโดยไม่เกิดข้อผิดพลาดอันจะเป็นผลเสียหายต่องานวิจัย
ผศ.ดร.ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์ เพื่อให้งานวิจัยดำเนินไปได้อย่างดีโดยไม่เกิดข้อผิดพลาดอันจะเป็นผลเสียหายต่องานวิจัย ผู้วิจัยจำเป็นจะต้องดำเนินการวิจัยไปตามลำดับขั้นของการวิจัยอย่างเป็นระเบียบ ซึ่งลำดับขั้นในการวิจัยที่สำคัญ ๆ (Major step) นั้น มีดังต่อไปนี้ 1. เลือกหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย (Selecting a topic of research) เพื่อเป็นการกำหนดขอบเขตหรือขอบข่ายของงาน 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมความรู้พื้นฐาน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย (Review literature and related research) เพื่อให้ผู้วิจัยมองเห็นวิวัฒนาการของความรู้หรือทฤษฎีนั้น ๆ ว่ามีพัฒนาการมาอย่างไร ใครเป็นคนต้นคิด มีใครตรวจสอบวิจัยมาบ้างแล้ว มีตัวแปรใดบ้างที่เข้ามาเกี่ยวข้อง แบบแผนการวิจัยทั่ว ๆ ไปเป็น เช่นใด ฯลฯ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นปัญหาแจ่มชัดขึ้น 3. ให้คำจำกัดความหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย (Formulating research problem) ในขั้นนี้ผู้วิจัยจะต้องเขียนบรรยายถึงความเป็นมาของปัญหาที่จะวิจัย ทฤษฎีพื้นฐาน ความมุ่งหมายของการวิจัย ความสำคัญของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้น คำนิยามศัพท์เฉพาะ วิธีดำเนินการ กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย […]
อาจารย์กับการทำงานวิจัย สู่การต่อยอดด้านการสอน
อาจารย์กับการทำงานวิจัย สู่การต่อยอดด้านการสอน“ณ วันนี้งานวิจัยถือเป็นฐานสำคัญในการต่อยอดด้านการศึกษา อาจารย์ผู้สอนจึงต้องทำวิจัยให้มากเพื่อให้การสอนมีความแปลกใหม่และหลากหลาย” งานหลักของอาจารย์มหาวิทยาลัยไม่ว่าจะเป็นประเทศไหน ๆ ก็ไม่ต่างกันคือ วิจัย สอน และบริการทางวิชาการ สัดส่วนการแบ่งงานทั้ง 3 ด้านมีความแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย งานสอนในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปมากจากในอดีต ด้วยเนื้อหาวิชาและองค์ความรู้ต่าง ๆ อยู่ในรูปสื่อดิจิทัลเป็นส่วนใหญ่หรืออยู่ในแหล่งที่สืบค้นได้สะดวก ประกอบกับรูปแบบการเรียนและการใช้ชีวิตของผู้เรียนในยุคดิจิทัลทำให้การสอนแบบที่อาจารย์นำเนื้อหาจากหนังสือมาบรรยายหน้าชั้นเรียนโดยตรงจึงแทบจะไม่มีให้เห็นแล้ววันหนึ่ง บ.ก. ได้มีโอกาสดูแลรักษาอาจารย์ผู้ใหญ่ท่านหนึ่งในธรรมศาสตร์ ท่านกล่าวไว้ประโยคหนึ่งสั้น ๆ แต่กินใจว่า “อาจารย์มหาวิทยาลัยถ้าไม่ทำวิจัยจะเอาอะไรมาสอน” นั่นหมายความว่าอาจารย์ต้องทำการบ้านอย่างหนักในการเตรียมเอกสารคำสอน โดยการสืบค้น วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กระบวนการดังกล่าวเป็นขั้นตอนเริ่มต้นที่สำคัญในการทำงานวิจัย ซึ่งหากทำได้อย่างเป็นระบบและครอบคลุมก็จะได้หัวข้อวิจัยที่มีความทันสมัยน่าสนใจและตอบโจทย์ของสังคม ที่สำคัญเป็นงานวิจัยที่ Originalและเมื่อผ่านการเขียนรายงานอย่างมีมาตรฐานก็สามารถตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีคุณภาพทั้งในและต่างประเทศ บทความวิจัยที่ดีก็ควรปรากฎอยู่ในวารสารที่มีคุณภาพ อยู่ใน Quartile ระดับต้น ๆ หรือมีค่า Impact Factor สูง ๆ ตามแต่ละสาขาวิชา เพื่อให้มีผู้สนใจเข้าไปอ่านและอ้างอิงบทความ (Citation) ได้มาก นี่เป็นศาสตร์และศิลป์ของการสอนและวิจัยที่อาจารย์ต้องทุ่มเท