มุมวิทยานิพนธ์น่ารู้

มุมวิทยานิพนธ์น่ารู้

  • ภาพรวมกระบวนการทำวิทยานิพนธ์ ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง (PDF)
  • การดำเนินการของนักศึกษาหลังแก้ไขตัวเล่ม 5 บทเสร็จแล้ว (PDF)
  • ขั้นตอนการเสนอวิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ (PDF)
  • ขั้นตอนการรับรูปเล่มผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจรูปแบบ จากบัณฑิตวิทยาลัย (PDF)
  • เทคนิคและเคล็ดลับการทำวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ (การศึกษาอิสระ) ให้ประสบความสำเร็จ (PDF)
  • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์ (แบบ ว.x) (web)
  • การเขียนรายการบรรณานุกรม (PDF) | (PDF) | (web)
  • วิธีสร้างรายการบรรณานุกรมอัตโนมัติด้วย Word 2010 (web)
  • ตัวอย่างการเขียนรายการบรรณานุกรม (PDF)
  • การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา (PDF) | (PDF)
  • โปรแกรมตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม (Plagiarism Detection Software) (web)
  • แนวทางการกำหนดปัญหาและประเด็นในการวิจัย จากประเด็นกว้างไปสู่แคบ (PDF)
  • แนวทางการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาแบบรูปกรวย (PDF) / (PDF)
  • ตัวอย่างความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาในงานวิจัย (PDF)
  • ตัวอย่างตารางสังเคราะห์และกรอบแนวคิดในการวิจัย (PDF) **ต้องสังเคราะห์ตัวแปรต้นและตัวแปรตามทุกครั้ง **
  • เทคนิคการสร้างเครื่องมือในงานวิจัย (PDF)
  • เทคนิคการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย (PDF)
  • วิธีแปลงไฟล์ Word มาเป็น PDF ด้วยโปรแกรม CutePDF (web) / (Download)
  • แปลงไฟล์และปรับแต่งไฟล์ PDF ผ่าน Cloud-based (web)
  • การใช้ประโยชน์จาก Notepad ในการจัดการกับ Text (PDF)
  • โปรแกรม Excel สำหรับประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (Download)
  • ตัวอย่างแบบประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (สำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ) (PDF)
  • การปรับแต่งโปรแกรม SPSS v.13 ให้ใช้งานภาษาไทยได้ (PDF) / (Tanin.tlo)
  • IBM SPSS Statistics 20.0 Free Download (web)
  • โปรแกรม PSPP (ทดแทน SPSS) – (สรุป) | (คู่มือ) | (Download)
  • การปรับตำแหน่งทศนิยมในผลลัพธ์ของ SPSS (web)
  • นิยามของ ทัศนคติ (Point of View – Opinion not Behaving) กับ เจตคติ (Attitude – Opinion with Behaving) (web)
  • ตัวอย่างข้อคำถามของแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก (Feeling)
    พฤติกรรมการใช้ ความตระหนักรู้ การใช้บริการ แรงจูงใจ การรับรู้
    ความคิดเห็น การมีส่วนร่วม ความต้องการ ความพึงพอใจ เจตคติ ทัศนคติ

สถิติในการวิจัยและการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล

  • สถิติเบื้องต้นสำหรับผู้ไม่มีพื้นฐาน (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie & Morgan (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Darwin Hendel (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ศิริชัย ทวีวัฒน์ ดิเรก (PDF)
  • การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรคำนวณ (PDF)
  • เทคนิคการส่มตัวอย่างและการประมาณค่า (PDF)
  • สรุปความเข้่าใจของ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (web)
  • สรุปการเลือกใช้สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล (PDF)
  • สรุปการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการทำนายตัวแปร (web)
  • ความแตกต่างระหว่าง Variance และ Standard Deviations (web) (web)
  • ตารางแจกแจงความถี่ (Distribution Tables) – (web)
  • การทดสอบสมมติฐานด้วย z-test and t-test (web) (web)
  • สรุปสถิติ: ระดับของข้อมูล (PDF)
  • สรุปสถิติ: การสุ่มตัวอย่าง (PDF)
  • สรุปสถิติ: การใช้เลือกสถิติ (PDF)
  • สรุปสถิติ: การทดสอบสมมติฐาน (PDF)
  • สรุปสถิติ: การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว-สองตัว-หลายตัว (PDF)
  • สถิติประยุกต์ทางพฤติกรรมศาสตร์ (web)
  • สถิตในการวิจัยทางการศึกษา (web)
  • สถิติสำหรับการบริหารจัดการ (web)
  • สถิติกับคอมพิวเตอร์สำหรับสังคมศาสตร์ (web)
  • e-book สถิติเพื่อการศึกษา (web)
  • ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา (web)
  • พื้นฐานการวิจัยและการใช้สถิติ (web)
  • การวัดและประเมินผลการศึกษา (web)
  • การวัดและประเมินผล การวิจัยและสถิติทางการศึกษา (web)
  • คู่มือการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (PDF1) (PDF2) (PDF3)
  • เว็บเรียนรู้ การใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (web1) (web2)
  • สรุปย่อการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (PDF)
  • HyperStat: Online Statistics Textbook (web)
  • How2stats: Statisticians do it better (web)
  • Statistics: Power from Data (web)
  • Statistics How To: Statistics for the rest of us (web)
  • Dell Statistics: Methods and Applications (web)
  • Maths Is Fun: Math Resources (web)
  • Youtube SPSS in Use (web1) (web2) (web3)
  • Youtube SPSS very basic – การใช้งานเบื้องต้นจริงๆ (web)

สำหรับนักศึกษา ป.โท ที่ทำวิจัยครบ 5 บทแล้ว ให้นำข้อมูลเหล่านี้ส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษาด้วยทุกครั้ง

  1. สำเนาบันทึกข้อความการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย
  2. สำเนาบันทึกข้อความการขออนุญาตหน่วยงานเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
  3. ไฟล์ข้อมูล Excel ที่ใช้วิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (IOC)
  4. ไฟล์ข้อมูล SPSS ของกลุ่ม Tryout เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ค่า Cronbach’s alpha (ค่าความเชื่อมั่น)
  5. ไฟล์ข้อมูล SPSS ของกลุ่มตัวอย่างที่เก็บจริง
  6. ไฟล์รายงานผลการวิเคราะห์เชิงสถิติ (SPSS Report) โดยแปลงเป็น PDF
  7. แบบสอบถามที่ใช้เก็บจริงพร้อมหมายเลขการลงรหัสข้อมูล (จำนวน 80% ของแบบสอบถามที่ได้รับกลับมา)

เอกสารสำคัญที่ นักศึกษา ป.โท ต้องนำมาแสดงไว้ในภาคผนวกท้ายเล่ม

  1. สำเนาบันทึกข้อความการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย
  2. สำเนาบันทึกข้อความการขออนุญาตหน่วยงานเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
  3. ผลการวิเคราะห์ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (IOC) เป็นรายข้อ
  4. ตัวอย่างแบบประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (สำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ)
  5. ตัวอย่างแบบสอบถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
  6. ตัวอย่างแบบสอบถามที่ใช้สำหรับลงรหัสข้อมูล (รหัสตัวแปรต้องตรงกับใน SPSS)
  7. SPSS Report ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่น (Coefficient of Reliability) ด้วย Cronbach’s alpha
  8. SPSS Report ผลการวิเคราะห์สถิติทุกตัวที่ใช้ในการวิจัย

ข้อตกลงร่วมกันเรื่องความทันสมัยของหนังสือ ตำรา วารสาร และงานวิจัย ที่นำมาอ้างอิง

  1. หนังสือภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 15 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  2. วารสารวิชาการภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 10 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  3. งานวิจัยภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 10 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  4. หนังสือ วารสาร งานวิจัยจากต่างประเทศ อนุโลมได้ไม่เกิน 20 ปี นับจากปีปัจจุบัน

** อนึ่งข้อมูลดังกล่าวอาจได้รับการยกเว้น ในกรณีที่แหล่งอ้างอิงเป็นต้นฉบับที่เป็นนิยมในแวดวงวิชาการ **

https://sites.google.com/site/rucoved/home/ru-thesis

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

จากการศึกษางานวิจัยเผยว่า คนที่ทำตัวแปลกๆหรือทำตัวประหลาดแตกต่างจากคนปกติ หรือคนที่มีคาแร็คเตอร์แปลกประหลาดแบบธรรมชาติของเขาเอง สามารถสร้างแรงดึงดูดต่อเพศตรงข้าม และทำให้มีโอกาสหาแฟนหรือคนรู้ใจได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ใครที่โสดมานานแล้วอยากสละโสด คงจะได้ฤกษ์สละโสดเร็วๆนี้แล้ว . ซึ่งผลวิจัยดังกล่าวข้างต้น อ้างอิงจากวารสารว่าด้วยบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคม (Personality and Social Psychology Bulletin) ของสหรัฐอเมริกา เป็นการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิง จากการเลือกเพศตรงข้ามที่สนใจผ่านเว็บไซต์หาคู่เดทออนไลน์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงต่างถูกใจในผู้ที่มีความแปลกกว่าคนทั่วไป ทั้งในเรื่องสไตล์เสื้อผ้า การแต่งตัว รสนิยม และทัศนคติ . บางท่านอาจสงสัยว่า

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

จากการศึกษาเรื่อง ทำไมฝนตกแล้วต้องเหงา หรือผลกระทบจากสภาพอากาศต่อสภาพจิตใจในเชิงวิทยาศาสตร์และจิตวิทยานั้นพบว่า ในช่วงที่ฝนตก สภาพอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งความชื้นในอากาศที่เพิ่มขึ้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลง และแสงสว่างที่ลดน้อยลง ซึ่งอธิบายให้เห็นภาพที่สุดก็คงจะเป็นเรื่องของแสงสว่างที่ลดน้อยลงในวันที่ฝนตก เพราะร่างกายของมนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่า นาฬิกาชีวภาพ (Circadian Rhythm) ที่คอยกำหนดการทำงานของสมองและร่างกายในแต่ละช่วงของวัน . ซึ่งแสงส่งผลได้อย่างชัดเจน สามารถนึกถึงอารมณ์เวลาที่ตื่นมาในวันที่มีแสงแดดแรง ท้องฟ้าสดใส และไม่ร้อนจนเกินไป กับวันที่ตื่นมาแล้วท้องฟ้าปกคลุมไปด้วยเมฆครึ้ม อารมณ์ความรู้สึกในวันนั้นก็แตกต่างกันไม่น้อย ซึ่งสิ่งนี้เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล เพราะการได้รับแสงแดดที่ไม่เพียงพอหรือน้อยลงในตอนเช้าส่งผลต่อการทำงานของนาฬิกาชีวภาพ ต่อเนื่องไปยังสมอง ทำให้สมองผลิตเซโรโทนิน

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

วัยรุ่นวัยใสที่ยังไม่มีแฟนหรือแทบจะไม่ได้ไปออกเดทกับใครเขา มักถูกมองว่าขาดเสน่ห์หรือเข้าสังคมได้ไม่ดีนัก แต่ในขณะที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมวัยรุ่นในสหรัฐฯ เชื่อกันมานานว่า วัยรุ่นที่มีคู่คบหาดูใจจะมีโอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและวุฒิภาวะทางอารมณ์ได้ดีกว่าเพื่อนวัยเดียวกัน แต่แล้วความเชื่อนี้กำลังจะเปลี่ยนไป . เนื่องจากทีมนักวิจัยด้านสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยจอร์เจียของสหรัฐฯ ได้มีการตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดลงในวารสาร “สุขภาพในโรงเรียน” (Journal of School Health) โดยระบุว่า ผลการติดตามเก็บข้อมูลระยะยาวเป็นเวลา 7 ปีกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน ตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชี้ว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้คบหาเป็นแฟนกับใครและไม่ค่อยได้ออกเดทนั้น ไม่ได้มีพัฒนาการทางจิตวิทยาตามวัยด้อยไปกว่าเพื่อนที่มีแฟน หนำซ้ำยังมีทักษะทางสังคมที่ดีกว่า และมีภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าด้วย

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง