Kasetsart University (หลักสูตร ป โท)

รายชื่อหลักสูตรปริญญาโท

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์

คณะเกษตร (Faculty of Agriculture) 

มี 10 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาสัตวบาล

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชไร่นา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชากีฏวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาโรคพืช

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาปฐพีวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เกษตรเขตร้อน

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การสื่อสารเพื่อการพัฒนา

หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

คณะบริหารธุรกิจ (Faculty of Business Administration)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการผลิต

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด

คณะประมง (Faculty of Fisheries)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาการจัดการประมง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ประมง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล

คณะมนุษยศาสตร์ (Faculty of Humanities)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีไทย

คณะวนศาสตร์ (Faculty of Forestry)

มี 9 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาการจัดการป่าไม้

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาการจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาวนผลิตภัณฑ์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาวนวัฒนวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาชีววิทยาป่าไม้

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาอุทยานและนันทนาการ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทรัพยากรป่าไม้)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์เขตร้อน)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์ชุมชน)

คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)

มี 14 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (เคมีวิเคราะห์ เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีอนินทรีย์ และเคมีอินทรีย์)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามาตรวิทยา

คณะวิศวกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)

มี 13 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชลประทาน

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการอาหาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะสังคมศาสตร์ (Faculty of Social Sciences)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาประยุกต์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นนฐานมนุษย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน

คณะสัตวแพทยศาสตร์ (Faculty of Veterinary Medicine)

มี 5 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาทางสัตว์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มสุกร

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มโคนม

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคสัตว์เลี้ยง

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มสัตว์ปีก

คณะศึกษาศาสตร์ (Faculty of Education)

มี 16 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคุรุศาสตร์เกษตร

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาคณิตศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาสังคมศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (คหกรรมศาสตร์ศึกษา)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พลศึกษา)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาผู้ใหญ่)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ธุรกิจศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิจัยและประเมินผลการศึกษา)

คณะเศรษฐศาสตร์ (Faculty of Economics)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร

หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร (Faculty of Agro-Industry)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีน้ำตาล

ไม่สังกัดคณะ (สหวิชาการ) 

มี 5 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพันธุวิศวกรรม

หลักสูตรป.บัณฑิต การจัดการและประเมินโครงการ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม

หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

จากการศึกษางานวิจัยเผยว่า คนที่ทำตัวแปลกๆหรือทำตัวประหลาดแตกต่างจากคนปกติ หรือคนที่มีคาแร็คเตอร์แปลกประหลาดแบบธรรมชาติของเขาเอง สามารถสร้างแรงดึงดูดต่อเพศตรงข้าม และทำให้มีโอกาสหาแฟนหรือคนรู้ใจได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ใครที่โสดมานานแล้วอยากสละโสด คงจะได้ฤกษ์สละโสดเร็วๆนี้แล้ว . ซึ่งผลวิจัยดังกล่าวข้างต้น อ้างอิงจากวารสารว่าด้วยบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคม (Personality and Social Psychology Bulletin) ของสหรัฐอเมริกา เป็นการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิง จากการเลือกเพศตรงข้ามที่สนใจผ่านเว็บไซต์หาคู่เดทออนไลน์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงต่างถูกใจในผู้ที่มีความแปลกกว่าคนทั่วไป ทั้งในเรื่องสไตล์เสื้อผ้า การแต่งตัว รสนิยม และทัศนคติ . บางท่านอาจสงสัยว่า

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

จากการศึกษาเรื่อง ทำไมฝนตกแล้วต้องเหงา หรือผลกระทบจากสภาพอากาศต่อสภาพจิตใจในเชิงวิทยาศาสตร์และจิตวิทยานั้นพบว่า ในช่วงที่ฝนตก สภาพอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งความชื้นในอากาศที่เพิ่มขึ้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลง และแสงสว่างที่ลดน้อยลง ซึ่งอธิบายให้เห็นภาพที่สุดก็คงจะเป็นเรื่องของแสงสว่างที่ลดน้อยลงในวันที่ฝนตก เพราะร่างกายของมนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่า นาฬิกาชีวภาพ (Circadian Rhythm) ที่คอยกำหนดการทำงานของสมองและร่างกายในแต่ละช่วงของวัน . ซึ่งแสงส่งผลได้อย่างชัดเจน สามารถนึกถึงอารมณ์เวลาที่ตื่นมาในวันที่มีแสงแดดแรง ท้องฟ้าสดใส และไม่ร้อนจนเกินไป กับวันที่ตื่นมาแล้วท้องฟ้าปกคลุมไปด้วยเมฆครึ้ม อารมณ์ความรู้สึกในวันนั้นก็แตกต่างกันไม่น้อย ซึ่งสิ่งนี้เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล เพราะการได้รับแสงแดดที่ไม่เพียงพอหรือน้อยลงในตอนเช้าส่งผลต่อการทำงานของนาฬิกาชีวภาพ ต่อเนื่องไปยังสมอง ทำให้สมองผลิตเซโรโทนิน

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

วัยรุ่นวัยใสที่ยังไม่มีแฟนหรือแทบจะไม่ได้ไปออกเดทกับใครเขา มักถูกมองว่าขาดเสน่ห์หรือเข้าสังคมได้ไม่ดีนัก แต่ในขณะที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมวัยรุ่นในสหรัฐฯ เชื่อกันมานานว่า วัยรุ่นที่มีคู่คบหาดูใจจะมีโอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและวุฒิภาวะทางอารมณ์ได้ดีกว่าเพื่อนวัยเดียวกัน แต่แล้วความเชื่อนี้กำลังจะเปลี่ยนไป . เนื่องจากทีมนักวิจัยด้านสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยจอร์เจียของสหรัฐฯ ได้มีการตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดลงในวารสาร “สุขภาพในโรงเรียน” (Journal of School Health) โดยระบุว่า ผลการติดตามเก็บข้อมูลระยะยาวเป็นเวลา 7 ปีกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน ตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชี้ว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้คบหาเป็นแฟนกับใครและไม่ค่อยได้ออกเดทนั้น ไม่ได้มีพัฒนาการทางจิตวิทยาตามวัยด้อยไปกว่าเพื่อนที่มีแฟน หนำซ้ำยังมีทักษะทางสังคมที่ดีกว่า และมีภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าด้วย

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง