ปัญหา 4 ประการในการเขียนที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย

การเขียนที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัยนั้นถืิอได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากในการที่จะขายงานวิจัยของเราให้กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจจะเป็น ผู้ให้ทุน อาจารย์ที่ปรึกษา หรือ บรรณาธิการของวารสารวิชาการที่เราอยากตีพิมพ์งานของเรา โดยการเขียนให้แต่ละกลุ่มเป้าหมายก็มีความเหมือนและต่างกันออกไป ผมเองก็เคยประสบปัญหาในเรื่องนี้มาก่อนเช่นกัน จึงอยากจะแบ่งปันข้อแนะนำให้ผู้ที่อาจจะกำลังประสบปัญหานี้เหมือนกัน ดังนี้ครับ

  1. pควรเริ่มอย่างไรดี
    ผมเห็นหลายๆ งานมักจะเริ่มด้วยการบรรยายขนาดความสำคัญของพื้นที่หรืออุตสาหกรรมที่วิจัยอยู่เช่น GDP ของ ไทย หรือ รายได้หรือจำนวนนักท่องเที่ยว ซึ่งผมคิดว่าไม่น่าดึงดูดใจพอ จริงอยู่ที่ตัวเลขต่างๆ นั้นสามารถบอกขนาดความสำคัญได้ ทว่ากลับเป็นขนาดของภาพรวมพื้นที่ ไม่ใช่ขนาดความสำคัญของงานวิจัยเราดังนั้นสำหรับผมแล้วจะเริ่มที่ปัญหาที่เกิดขึ้นเลย โดยจะไม่บรรยายความสำคัญของพื้นที่มากนัก อาจจะแค่กริ่นเล็กๆ น้อย แล้วเสนอปัญหาที่กำลังเกิดขึ้น ซึ่งอาจจะเป็นในเชิงวิชาการ หรือ ในภาคปฏิบัติ (งานส่วนใหญ่ผมจะกริ่นด้วยปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นจริงๆ ในกาคปฏิบัติ)
  2. ควรจะเขียนมากน้อยขนาดไหนดี
    ทุกครั้งที่เขียนที่มาฯ ผมจะคิดเสมอว่าตัวเองเป็น Sale ขายงานวิจัย ดังนั้นจึงคิดว่า ทำยังไงก็ได้ให้ผู้อ่าน หรือ ผู้ให้ทุน (ลูกค้า) สนใจอ่านงานเรา หรือ ให้ทุนวิจัย (ซื้อของ) ในเวลาที่สั้นที่สุด แต่ต้องใช้ข้อมูลที่เป็นความจริงไม่มีการนั่งเทียนหรือแต่งนิทานมาหลอกเด็ดขาดโดยทั่วไปที่มาฯ ไม่ควรเกิน 5-10% ของงานวิจัย ในวิทยานิพนธ์ สองร้อยกว่าหน้า มีส่วนที่เป็นที่มา เพียง 1-2 หน้าก็เพียงพอแล้ว (อาจารย์มิ่งสรรพ์ เคยกล่าวไว้ว่า 3 หน้าแรกของ Proposal สำคัญมากเพราะผู้ให้ทุนจะตัดสินหลังจากอ่านหน้าที่ 3 แล้วว่าจะให้ทุนหรือไม่ Prof.Disney ก็บอกผมว่าส่วนที่มาฯ ของงานเป็นส่วนสำคัญมากสำหรับ Journal Editors โดยเฉพาะ journals ที่ดีๆ
  3. ควรจะอ้างอิงข้อมูลหรือไม่
    ในการทำวิจัยนั้นการอ้างอิงข้อมูลถือว่าเป็นสิ่งที่ดีที่จะสนับสนุนงานวิจัยของเรา ทั้งนี้การอ้างอิงอาจจะทำให้ส่วนที่มาฯ มีความน่าเชื่อถือดังนั้นหากจะมีการอ้างอิงในสาวนที่มาฯ นั้น แหล่งที่ใช้ควรจะเป็นแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือในระดับที่สูง และสามารถติดตามตรวจสอบความถูกต้องได้งาน เพราะหากตามตรวจสอบยากแล้วผุ้อ่านอาจจะมีความเคลือบแคลงสงสัยได้ อย่างไรก็ตามปกติ ในย่อหน้าแรกผมจะไม่อ้างอิงเลย แต่จะสรุปปัญหาอย่างกระชับและเข้าใจได้ง่ายๆ แล้วค่อยหาหลักฐานมาสนับสนุนคำกล่าวของเราในส่วนต่อมา เพื่อที่จะจับความสนใจของผู้อ่านให้ได้เร็วที่สุด ก่อนที่ผู้อ่านจะปิดไฟล์ หรือโยนงานเราลงถังขยะเสียก่อน
  4. ควรจะปิดท้าย(สรุป)อย่างไรดี
    สุดท้ายที่มาและความสำคัญจะต้องโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นด้วยและคล้อยตามเราว่าทำไมเราจึงควรสละเวลาและทรัพยากรต่างๆ ในการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบของปัญหาวิจัยนี้ และทำให้ผู้อ่านอยากจะอ่านงานวิ

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

งานวิจัยเผย : คนที่ทำตัวแปลกๆ หาแฟนง่ายกว่าคนธรรมดา

จากการศึกษางานวิจัยเผยว่า คนที่ทำตัวแปลกๆหรือทำตัวประหลาดแตกต่างจากคนปกติ หรือคนที่มีคาแร็คเตอร์แปลกประหลาดแบบธรรมชาติของเขาเอง สามารถสร้างแรงดึงดูดต่อเพศตรงข้าม และทำให้มีโอกาสหาแฟนหรือคนรู้ใจได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ใครที่โสดมานานแล้วอยากสละโสด คงจะได้ฤกษ์สละโสดเร็วๆนี้แล้ว . ซึ่งผลวิจัยดังกล่าวข้างต้น อ้างอิงจากวารสารว่าด้วยบุคลิกภาพและจิตวิทยาสังคม (Personality and Social Psychology Bulletin) ของสหรัฐอเมริกา เป็นการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิง จากการเลือกเพศตรงข้ามที่สนใจผ่านเว็บไซต์หาคู่เดทออนไลน์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงต่างถูกใจในผู้ที่มีความแปลกกว่าคนทั่วไป ทั้งในเรื่องสไตล์เสื้อผ้า การแต่งตัว รสนิยม และทัศนคติ . บางท่านอาจสงสัยว่า

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

งานวิจัยเผย : ฝนตกทำให้คนเหงา เป็นเรื่องจริงไม่ได้มโนไปเอง

จากการศึกษาเรื่อง ทำไมฝนตกแล้วต้องเหงา หรือผลกระทบจากสภาพอากาศต่อสภาพจิตใจในเชิงวิทยาศาสตร์และจิตวิทยานั้นพบว่า ในช่วงที่ฝนตก สภาพอากาศเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งความชื้นในอากาศที่เพิ่มขึ้น อุณหภูมิที่ลดต่ำลง และแสงสว่างที่ลดน้อยลง ซึ่งอธิบายให้เห็นภาพที่สุดก็คงจะเป็นเรื่องของแสงสว่างที่ลดน้อยลงในวันที่ฝนตก เพราะร่างกายของมนุษย์มีสิ่งที่เรียกว่า นาฬิกาชีวภาพ (Circadian Rhythm) ที่คอยกำหนดการทำงานของสมองและร่างกายในแต่ละช่วงของวัน . ซึ่งแสงส่งผลได้อย่างชัดเจน สามารถนึกถึงอารมณ์เวลาที่ตื่นมาในวันที่มีแสงแดดแรง ท้องฟ้าสดใส และไม่ร้อนจนเกินไป กับวันที่ตื่นมาแล้วท้องฟ้าปกคลุมไปด้วยเมฆครึ้ม อารมณ์ความรู้สึกในวันนั้นก็แตกต่างกันไม่น้อย ซึ่งสิ่งนี้เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล เพราะการได้รับแสงแดดที่ไม่เพียงพอหรือน้อยลงในตอนเช้าส่งผลต่อการทำงานของนาฬิกาชีวภาพ ต่อเนื่องไปยังสมอง ทำให้สมองผลิตเซโรโทนิน

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

งานวิจัยเผย : วัยรุ่นที่มีแฟนเป็นซึมเศร้ามากกว่าวัยรุ่นที่โสด

วัยรุ่นวัยใสที่ยังไม่มีแฟนหรือแทบจะไม่ได้ไปออกเดทกับใครเขา มักถูกมองว่าขาดเสน่ห์หรือเข้าสังคมได้ไม่ดีนัก แต่ในขณะที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมวัยรุ่นในสหรัฐฯ เชื่อกันมานานว่า วัยรุ่นที่มีคู่คบหาดูใจจะมีโอกาสพัฒนาทักษะทางสังคมและวุฒิภาวะทางอารมณ์ได้ดีกว่าเพื่อนวัยเดียวกัน แต่แล้วความเชื่อนี้กำลังจะเปลี่ยนไป . เนื่องจากทีมนักวิจัยด้านสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยจอร์เจียของสหรัฐฯ ได้มีการตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดลงในวารสาร “สุขภาพในโรงเรียน” (Journal of School Health) โดยระบุว่า ผลการติดตามเก็บข้อมูลระยะยาวเป็นเวลา 7 ปีกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียน ตั้งแต่อยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชี้ว่าวัยรุ่นที่ไม่ได้คบหาเป็นแฟนกับใครและไม่ค่อยได้ออกเดทนั้น ไม่ได้มีพัฒนาการทางจิตวิทยาตามวัยด้อยไปกว่าเพื่อนที่มีแฟน หนำซ้ำยังมีทักษะทางสังคมที่ดีกว่า และมีภาวะซึมเศร้าน้อยกว่าด้วย

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน

รู้หรือไม่ ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน . เนื่องจากการสำรวจพฤติกรรมการรับสื่อและทัศนคติต่อการรับชมโฆษณา-แคมเปญการตลาดของผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ทางบริษัท นีลเส็น มีเดีย ประเทศไทย หนึ่งในบริษัทวิจัยสื่อ-การตลาดรายใหญ่ สามารถประมวลเป็นเทรนด์สำคัญที่จะส่งผลกับการสื่อสารและทำการตลาดของภาคธุรกิจในปี 2566 นี้ . พบว่า ผู้บริโภค 85% เชื่อถือโฆษณาในรูปแบบสปอนเซอร์ทีม-การแข่งขัน และ 61% เลือกซื้อสินค้าที่เป็นสปอนเซอร์การแข่งขัน รวมถึง